วันพุธที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561


ขั้นที่  5 การประเมินผลหลักสูตร เป็นการตัดสินคุณค่าของหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นโดยใช้ผลจากการรวบรวมข้อมูลในแง่มุมต่างๆ เพื่อหาคำตอบว่าหลักสูตรมีผลสัมฤทธิ์ตามที่กำหนดไว้หรือไม่เพียงใด   สิ่งใดที่ควรต้องทำการปรับปรุงเพื่อให้หลักสูตรดียิ่งขึ้น
              การประเมินหลักสูตร  ให้ครูประเมินจากสิ่งๆ ต่อไปนี้
              1. ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน  ได้แก่  ความรู้  ทักษะ  เจตคติ  และค่านิยมต่างๆ  มีการประเมินเป็น  2 ระยะ คือ
                   1.ประเมินระหว่างการจัดการเรียนการสอน เป็นการประเมินตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ที่กำหนดไว้ในแต่ละคาบของการจัดการเรียนการสอน
                   1.ประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์เป็นไปตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรหรือไม่ อย่างไร
              2. ประเมินการจัดการเรียนการสอน เพื่อตรวจสอบว่าเมื่อนำหลักสูตรไปใช้จัดการเรียนการสอนในสถานการณ์จริงแล้วเป็นอย่างไร มีปัญหา/อุปสรรคอย่างไร การจัดการเรียนการสอนให้คำนึงถึงการประเมินสิ่งต่างๆ ต่อไปนี้
                   2.การประเมินเนื้อหาสาระที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เหมาะสมและสอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียน ผู้เรียนสนใจในเนื้อหาสาระเรื่องราวที่นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่   อย่างไร
                   2.ประเมินสื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนว่าเหมาะสม ชัดเจน เข้าใจง่าย และดึงดูดความสนใจของผู้เรียนเพียงใด
                   2.ประเมินกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนว่าเป็นไปตามลำดับจากง่ายไปยาก   ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะตามที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้หรือไม่อย่างไร จากความจำเป็นและขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ดังที่ได้กล่าวมาสามารถสรุปได้
ตาราง  ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตร





ขั้นตอน
สิ่งที่ศึกษา
วิธีการศึกษา/แหล่งข้อมูล
เป้าหมาย

1. การศึกษาและ
    วิเคราะห์ข้อมูล
    พื้นฐาน
  1.1 สภาพและ  
        ความต้องการ
        ของชุมชน

  1.2  ศักยภาพของ
         โรงเรียน












  1.3  การวิเคราะห์
         หลักสูตร
         แกนกลาง








 2. การร่าง 
    หลักสูตร
  2.1 การกำหนดจุด
       ประสงค์ของ
        หลักสูตร


  2.2 การกำหนดเนื้อหาสาระ









  2.3 การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมและสื่อการเรียนรู้



2.4   การกำหนดวิธี วัดและประเมินผล
 ผู้เรียน

3.  การตรวจสอบ
     คุณภาพของ
    หลักสูตร





4. การนำหลักสูตร
    ไปใช้





5.  การประเมินผล
     หลักสูตร



-  สภาพทั่วไปของชุมชน
-  การศึกษา
-  สิ่งแวดล้อม
-  การประกอบอาชีพ
-  สุขภาพอนามัย
-  ขนบธรรมเนียมประเพณี
-  ทรัพยากร
-  ปัญหาชุมชน
-  สภาพทั่วไปของโรงเรียน
-  บุคลากร
-  งบประมาณ
-  อุปกรณ์
-  สื่อการจัดการเรียนการสอน
-  อาคารสถานที่
-  ห้องเรียน
-  ความร่วมมือระหว่าง  
    ชุมชนกับโรงเรียน
-   จุดมุ่งหมาย
    (มาตรฐานหลักสูตร)
-  จุดประสงค์รายวิชา   (มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่ม วิชา)
-  เนื้อหาสาระ (สาระการ
     เรียนรู้แต่ละช่วงชั้น)
-  การจัดการเรียนการสอน
     และการประเมินผล





-  หัวเรื่องที่จะนำมาเรียน
-  จุดประสงค์การเรียนรู้ใน
หลักสูตรแกนกลาง


 


เนื้อหาสาระที่จะนำมากำหนด
  การเรียนรู้
- สอดคล้องกับจุดประสงค์
-  เกี่ยวข้องกับสภาพความ
    ต้องการของชุมชน
-  ทันสมัย  น่าสนใจ
-  ยากง่าย  สอดคล้องกับวัย
    ของผู้เรียน
-  มีประโยชน์นำไปใช้ใน
    ชีวิตประจำวัน
-  โรงเรียนมีศักยภาพในการ
    จัดการเรียนการสอนได้
-  กระบวนการจัดการเรียน
   การสอน
-  กิจกรรมที่ผู้เรียนกระทำ
-  กิจกรรมที่ผู้สอนกระทำ
-  ประสบการณ์เดิมของผู้เรียน
-  สื่อการเรียนรู้ที่จะนำมาใช้
-  วิธีวัดและประเมินผลผู้เรียน
   ตามสภาพจริง
-  คุณลักษณะต่างๆ  ที่ต้อง  การให้เกิดกับผู้เรียนในราย วิชาที่พัฒนาขึ้น
-  เครื่องที่ใช้ในการวัดและประเมินผลผู้เรียน
-  วิธีการตรวจสอบคุณภาพ
    ของหลักสูตร

-  วิธีการแปลงหลักสูตรไปสู่
    การจัดการเรียนการสอน
-  การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้
     เรียนเป็นสำคัญ



-  ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียนในการ
    จัดการเรียนการสอน



-  เอกสาร
-  การสำรวจชุมชนด้วย
     การสัมภาษณ์สอบถาม 
    สังเกต
-  โรงเรียนประชุมร่วมกับ
    ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ผู้
     ปกครอง กรรมการ คน
    ในชุมชน นักเรียน ฯลฯ
-  เอกสาร
-  รายงาน
-  การสำรวจโรงเรียน
-  ประชุมร่วมกับผู้มีส่วน
     เกี่ยวข้อง
-   เอกสารหลักสูตรแกนกลาง










- ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์  ที่หลักสูตรแกนกลางในขั้นตอนที่ 1มากำหนดเป็นจุดประสงค์ของการเรียนรู้



-  ข้อมูลที่จะได้จาก
   ขั้นตอนที่ 1
-  ประชุมร่วมกับผู้มีส่วน
   เกี่ยวข้อง








- เอกสาร  ตำราจากห้อง
สมุดหน่วยงานต่างๆ
- ประการตรงของครูผู้สอน
-  ประชุมร่วมกับผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง

-  เอกสาร  ตำราจากห้อง
สมุดหน่วยงานต่างๆ
-  ประการตรงของครูผู้สอน
-  ประชุมร่วมกับผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง

-  ประชุมระดมความ 
    คิดเห็นจากคณะทำงาน
    ร่างหลักสูตร
-  ความคิดเห็นจาก
    ผู้เชี่ยวชาญ
-  ประชุมรับฟังความ
    คิดเห็นจากผู้มีส่วน
    เกี่ยวข้อง
-  เอกสาร  ตำราจากห้อง
   สมุดหน่วยงานต่างๆ 
-  ประสบการณ์ตรงของ
   ผู้สอน
-  ประสานกับชุมชนเพื่อ
    ใช้ สื่อ  บุคลากร  แหล่ง
    เรียนรู้ ในการจัดการเรียนการสอน
- กระบวนการจัดการเรียน
 การสอน
- ประเมินผลนักเรียนใน
 ระหว่างการจัดการเรียน
 การสอน
- ประเมินผลนักเรียนเมื่อสิ้นสุด
 การจัดการเรียนการสอน
- ประเมินเนื้อหาสาระสื่อ
 กิจกรรมการจัดการเรียน
 การสอน
-ประเมินการมีส่วนร่วมของ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง



กำหนดหัวเรื่องที่จะนำมา
เรียนรู้  เรียงตามลำดับความ
สำคัญ





ตัดสินใจเกี่ยวกับ หัวเรื่อง
 ที่จะนำมาเรียนรู้







- กำหนดจุดประสงค์ทั่วไป
-  กำหนดจุดประสงค์การ
 การเรียนรู้ (เชิงพฤติกรรม)
-  กำหนดเนื้อหาสาระ
-  กำหนดการจัดกิจกรรม
-  กำหนดการวัดและ
 ประเมินผล


-  กำหนดจุดประสงค์ทั่วไป
-  กำหนดจุดประสงค์
    การเรียนรู้



กำหนดเนื้อหาสาระได้
สอดคล้องกับจุดประสงค์
และสภาพความต้องการ
ของชุมชน






แนวทางการจัดการเรียน
การสอนในรายวิชาที่
พัฒนาขึ้น


วิธีวัดและประเมินผลผู้
เรียนที่สอดคล้องกับ
จุดประสงค์ของหลักสูตร

ประสิทธิภาพของหลักสูตร
 ก่อนนำไปใช้จริง















-  การตัดสินคุณค่าของหลัก
    สูตรที่ใช้ในการจัดการ
    เรียน การสอน
-  การปรับปรุงหลักสูตรให้
    ดียิ่งขึ้น


























ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

คำถามท้ายบทที่ ๑๐

1. การประเมินหลักสูตรมีความจำเป็นหรือไม่อย่างไร ตอบ.หลักสูตรเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการจัดการศึกษาเพราะเป็นการขยายแนวคิดในการจัดการศึกษา...